วันพฤหัสบดีที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2557

การทดลองที่ 4.2

การทดลองที่ 4.2

การต่อวงจรสำหรับเปรียบเทียบช่วงแรงดัน


วัตถุประสงค์ 

  • ฝึกต่อวงจรโดยใช้ตัวต้านทานปรับค่าได้และไอซี LM393N 
  • ต่อวงจรโดยใช้ไอซี LM393N ที่มีตัวเปรียบเทียบแรงดันสองตัว เพื่อเปรียบเทียบแรงดันอินพุตกับ แรงดันอ้างอิงโดยแบ่งเป็นสองระดับ 

รายการอุปกรณ์

  •  แผงต่อวงจร (เบรดบอร์ด)     1 อัน 
  • ไอซีเปรียบเทียบแรงดัน เบอร์ LM393N   1 ตัว 
  • ตัวต้านทานปรับค่าได้แบบ 3 ขา ขนาด 10kΩ หรือ 20kΩ 1 ตัว
  • ตัวต้านทาน 10kΩ     4 ตัว 
  • ตัวต้านทาน 330Ω หรือ 470Ω    1 ตัว 
  • ไดโอดเปล่งแสง (LED) ขนาด 5 มม.   1 ตัว 
  • สายไฟสําหรับต่อวงจร     1 ชุด 
  • มัลติมิเตอร์      1 เครื่อง 
  • แหล่งจ่ายแรงดันควบคุม     1 เครื่อง 
  • เครื่องกําเนิดสัญญาณแบบดิจิทัล    1 เครื่อง 
  • ออสซิลโลสโคปแบบดิจิทัล    1 เครื่อง 

ขั้นตอนการทดลอง

   1. ต่อวงจรบนเบรดบอร์ด โดยใช้ไอซี LM393N ตามผังวงจรในรูปที่ 4.2.1 และป้อนแรงดันไฟเลี้ยง               VCC= +5V และ Gnd จากแหล่งจ่ายควบคุมแรงดัน 
   2. ใช้มัลติมิเตอร์วัดแรงดัน V1 และ V2 เทียบกับ Gnd ของวงจร ตามลําดับ แล้วจดบันทึกค่าที่ได้
   3. สร้างสัญญาณแบบสามเหลี่ยม (Triangular Wave) ให้อยู่ในช่วงแรงดนั 0V ถึง 5V โดยใช้เครื่อง                กําเนิดสัญญาณ (Function Generator) โดยกําหนดให้ Vpp = 5V (Peak-to-Peak Voltage) และ แรงดัน        Offset = 2.5V และความถี่ f = 1kHz เพื่อใช้เป็นสัญญาณอินพุต Vin สําหรับวงจร 
   4. ใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณ โดยใช้ช่อง A สําหรับวัดสัญญาณที่มาจากเครื่องกําเนิดสัญญาณ           (Vin) และช่อง B สําหรับวัดสัญญาณเอาต์พุตที่ขาหมายเลข 1 (V3) ของตัวเปรียบเทียบแรงดัน                 (บันทึกภาพ ที่ได้จากออสซลิโลสโคป เพื่อใช้ประกอบการเขียนรายงานการทดลอง) 
   5. ใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณ โดยใช้ช่อง A สําหรับวัดสัญญาณที่มาจากเครื่องกําเนิดสัญญาณ           (Vin) และช่อง B สําหรับวัดสัญญาณเอาต์พุตที่ขาหมายเลข 7 (V4) ของตัวเปรียบเทียบแรงดัน                 (บันทึกภาพ ที่ได้จากออสซลิโลสโคป เพื่อใช้ประกอบการเขียนรายงานการทดลอง) 
   6. ต่อวงจรบนเบรดบอร์ด ตามผังวงจรในรูปที่ 4.2.2 โดยตัวต้านทานปรับค่าได้ขนาด 10kΩ หรือ 20kΩ
    7. ใช้มัลติมิเตอร์วัดแรงดัน Vin ทดลองหมุนปรับค่าที่ตัวต้านทานปรับค่าได้ แล้วสังเกตสถานะของ              การติด/ดับของ LED1 ให้จดบันทึกค่าแรงดัน Vin ที่ทําให้ LED1 เกิดการเปลี่ยนสถานะติด/ดับ  
   8. เขียนรายงานการทดลอง ซงึ่ประกอบด้วยคําอธบิายการทดลองตามขั้นตอน ผงัวงจรที่ถูกต้อง ครบ          ถ้วนตามหลักไฟฟา้ (ให้วาดด้วยโปรแกรม Cadsoft Eagle) รูปถ่ายของการตอ่วงจรบน เบรดบอร์ด รูป        คลื่นสัญญาณที่วัดได้จากออสซิลโลสโคปตามโจทย์การทดลอง และตอบคําถาม ท้ายการทดลอง 




รูปที่ 4.2.1: ผังวงจรสําหรับต่อวงจรไอซีเปรียบเทียบแรงดันสองชุด 


รูปที่ 4.2.2: ผังวงจรสําหรับต่อวงจรไอซีเปรียบเทียบช่วงแรงดัน

รูปการทดลอง



จากรูป 4.2.1: ผังวงจรสําหรับต่อวงจรไอซีเปรียบเทียบแรงดันสองชุด 





จากรูป 4.2.2: ผังวงจรสําหรับต่อวงจรไอซีเปรียบเทียบช่วงแรงดัน





ผลการทดลอง

จากรูป 4.2.1: ผังวงจรสําหรับต่อวงจรไอซีเปรียบเทียบแรงดันสองชุด 





                              จากรูป 4.2.2: ผังวงจรสําหรับต่อวงจรไอซีเปรียบเทียบช่วงแรงดัน



คำถามท้ายการทดลอง

   1. แรงดัน V1 และ V2 มีค่าประมาณ       โวลต์ และ      โวลต์ ตามลําดับ 
   2. แรงดัน Vin จะต้องมีค่าอยู่ในช่วง   3.4   ถึง  5  โวลต์ และ    0   ถึง      3.4   โวลต์ จึงจะทําให้แรง              ดัน  V3 ที่ขาหมายเลข 1 ของ LM393N (วงจรในรูปที่ 4.2.1) ได้ลอจิก LOW และ HIGH ตามลําดับ 
   3. แรงดัน Vin จะต้องมีค่าอยู่ในช่วง  0   ถึง  1.8   โวลต์ และ   1.8    ถึง    4.84    โวลต์ จึงจะทําให้แรง          ดัน V4 ที่ขาหมายเลข 7 ของ LM393N (วงจรในรูปที่ 4.2.1) ได้ลอจิก LOW และ HIGH ตามลําดับ 
   4. แรงดัน Vin ที่ได้จากการหมุนปรับค่าของตัวต้านทานปรับค่าได้ จะต้องมีค่าอยู่ในช่วงใด จึงจะทําให้        LED1 สว่าง (1.6-1.7 V , 3.3-3.4 V)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น